อุทยานประวัติศาสตร์ปราสาทหินเขาพนมรุ้ง ปราสาทหินเขาพนมรุ้ง Phanomrung Historical park เขาพนมรุ้ง ปราสาทหินพนมรุ้ง Khao Phanomrung พนมรุ้ง บุรีรัมย์
http://www.facebook.com/kaophanomrung เที่ยวพนมรุ้ง บุรีรัมย์ ชมปราสาทหินเขาพนมรุ้ง พนมรุ้ง (Phanomrung Khmer ruins
) ปราสาทหินเขาพนมรุ้ง จ.บุรีรัมย์ พนมรุ้ง ปราสาทหินเขาพนมรุ้ง จ.บุรีรัมย์ Phanomrung Historical Park Buriram ปราสาทหินเขาพนมรุ้งคำว่า พนมรุ้ง นั้น มาจากภาษาเขมร คำว่า วนํรุง แปลว่า ภูเขาใหญ่ปราสาทหินเขาพนมรุ้งตั้งอยู่บนยอดภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้ว Panomrung สูงประมาณ 200 เมตรจากพื้นราบ (ประมาณ 350 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง)ปราสาทหินพนมรุ้งเป็นโบสถ์พราหมณ์ลัทธิไสวะ มีการบูรณะก่อสร้างต่อเนื่องกันมาหลายสมัย ตั้งแต่ประมาณพุทธศตวรรษที่ 15 ถึงพุทธศตวรรษที่ 17 และในพุทธศตวรรษที่ 18 พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 แห่งอาณาจักรขอมได้หันมานับถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน เทวสถานแห่งนี้จึงได้รับการดัดแปลงเป็นวัดมหายาน ในช่วงแรกปราสาทหินพนมรุ้ง Phnomrung สร้างขึ้นจากหินทรายสีชมพู ตั้งอยู่บนยอดเขาพนมรุ้งสูง 1,320 ฟุตจากระดับน้ำทะเล ชื่อพนมรุ้งแปลว่าภูเขาใหญ่ สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 15-18 จารึกต่าง ๆ ที่นักวิชาการได้อ่านและแปลพอจะสรุปได้ว่า พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 3 กษัตริย์แห่งพระนคร (พ.ศ. 1487-1511) ได้สถาปนาเทวสถานถวายพระศิวะที่เขาพนมรุ้ง ซึ่งในสมัยแรก ๆ คงยังไม่ใหญ่โตนัก ต่อมาพระเจ้าชัยวรมันที่ 5 (พ.ศ. 1511-1544) ได้ทรงอุทิศที่ดินและข้าทาสถวายแด่เทวสถานพนมรุ้ง ในสมัยพุทธศตวรรษที่ 17 นเรนทราทิตย์ เจ้านายแห่งราชวงศ์มหิธรปุระที่ปกครองดินแดนแถบนี้ (ซึ่งเป็นต้นตระกูลของพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ผู้สร้างนครวัด) ได้สร้างปราสาทแห่งนี้ขึ้นและได้ทรงบำเพ็ญพรตเป็นโยคี ณ ปราสาทพนมรุ้ง ปราสาทหินพนมรุ้งสร้างขึ้นเนื่องในศาสนาฮินดูลัทธิไศวะ ซึ่งนับถือพระศิวะเป็นเทพเจ้าสูงสุด ดังนั้นเขาพนมรุ้งจึงเปรียบเสมือนเขาไกรลาสที่ประทับของพระศิวะองค์ประกอบและแผนผังของปราสาทพนมรุ้งได้รับการออกแบบให้มีลักษณะเป็นแนวเส้นตรง และเน้นความสำคัญเข้าหาจุดศูนย์กลาง นั่นคือปราสาทประธานซึ่งหันหน้าไปทางทิศตะวันออก ด้านขวาของบันไดทางขึ้นสู่ศาสนสถานมีอาคารที่เรียกว่า พลับพลา อุทยานประวัติศาสตร์ปราสาทพนมรุ้ง อ.เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์ อาคารนี้อาจจะเป็นอาคารที่เรียกกันในปัจจุบันว่า พลับพลาเปลื้องเครื่อง ซึ่งเป็นที่พักจัดเตรียมองค์ของพระมหากษัตริย์ สิ่งมหัศจรรย์ห้ามพลาดคือ ชมดวงอาทิตย์ลอด 15 ช่องประตู ณ ปราสาทหินพนมรุ้ง จ.บุรีรัมย์ และงานประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง ณ ปราสาทพนมรุ้ง รวมถึงชมแสงแรกแห่งอรุณ สาดส่องผ่านช่องประตูของปราสาทหินพนมรุ้ง
12 เมืองต้องห้ามพลาด!!! บุรีรัมย์ ปราสาทหินพนมรุ้ง
Khao Phanomrung, แหล่งท่องเที่ยว จ.บุรีรัมย์ : พนมรุ้ง ปราสาทหินเขาพนมรุ้ง อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.บุรีรัมย์ อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง หรือ ศูนย์ข้อมูลนักท่องเที่ยว อุทยานประวัติศาสตร์ปราสาทหินเขาพนมรุ้ง ปราสาทหินพนมรุ้งคำว่า พนมรุ้ง นั้น มาจากภาษาเขมร คำว่า วนํรุง แปลว่า ภูเขาใหญ่ปราสาทหินพนมรุ้งเป็นหนึ่งในปราสาทหินขอมของไทยที่มีชื่อเสียงมากที่สุด เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของจังหวัดบุรีรัมย์ และถือเป็นสัญลักษณ์ที่สำคัญของจังหวัดบุรีรัมย์องค์ประกอบและแผนผังของปราสาทพนมรุ้งได้รับการออกแบบให้มีลักษณะเป็นแนวเส้นตรง และเน้นความสำคัญเข้าหาจุดศูนย์กลาง นั่นคือปราสาทประธานซึ่งหันหน้าไปทางทิศตะวันออก ด้านขวาของบันไดทางขึ้นสู่ศาสนสถานมีอาคารที่เรียกว่า พลับพลา อาคารปราสาทพนมรุ้ง นี้อาจจะเป็นอาคารที่เรียกกันในปัจจุบันว่า พลับพลาเปลื้องเครื่อง ซึ่งเป็นที่พักจัดเตรียมองค์ของพระมหากษัตริย์ ก่อนเสด็จเข้าสู่การสักการะเทพเจ้าหรือประกอบพิธีกรรมในบริเวณศาสนสถานปราสาทประธาน ตั้งอยู่ตรงศูนย์กลางของลานปราสาทชั้นใน มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุมมณฑป คือห้องโถงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เชื่อมอยู่ทางด้านหน้าที่ส่วนประกอบของปรางค์ประธานตั้งแต่ฐานผนังด้านบนและด้านล่าง เสากรอบประตู เสาติดผนัง ทับหลัง หน้าบัน ซุ้มชั้นต่าง ๆ ตลอดจนกลีบขนุน ก่อด้วยหินทรายสีชมพูมีผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุมกว้าง 8.20 เมตร สูง 27 เมตร ด้านหน้าทำเป็นมณฑปโดยมีอันตราละหรือฉนวนเชื่อมปราสาทประธานนี้ เชื่อว่า สร้างโดย นเรนทราทิตย์ ซึ่งเป็นผู้นำปกครองชุมชนที่มีปราสาทพนมรุ้งเป็นศูนย์กลาง ราว พุทธศตวรรษที่ 17ภายในเรือนธาตุตรงกึ่งกลาง เรียกว่าห้องครรภคฤหะ เป็นที่ประดิษฐานรูปเคารพที่สำคัญที่สุด ในที่นี้คือ ศิวลึงค์ ซึ่งแทนองค์พระศิวะ เป็นที่น่าเสียดายว่า ประติมากรรมชิ้นนี้ได้สูญหายไป เหลือเพียงแต่ ท่อโสมสูตร คือร่องน้ำมนต์ที่ใช้รับน้ำสรงจากการสักการะศิวลึงค์เท่านั้น ทางเดินด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และทิศตะวันตกเฉียงใต้ของปราสาทประธาน มีปราสาทอิฐสององค์และปรางค์น้อย จากหลักฐานทางด้านสถาปัตยกรรมและศิลปกรรม กล่าวได้ว่า ปราสาททั้งสามหลังได้สร้างขึ้นก่อนปราสาทประธานราวพุทธศตวรรษที่ 15 และ 16 ตามลำดับ ส่วนทางด้านหน้าของปราสาทประธานอุทยานประวัติศาสตร์ปราสาทพนมรุ้ง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จ.บุรีรัมย์ คือทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และทิศตะวันออกเฉียงใต้ มีอาคารสองหลังก่อด้วยศิลาแลง เรียกว่าบรรณาลัย ซึ่งเป็นที่เก็บรักษาคัมภีร์ทางศาสนา ก่อสร้างขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 18 เที่ยวจังหวัดบุรีรัมย์ อุทยานประวัติศาสตร์ปราสาทพนมรุ้ง ติดต่อที่พักใกล้อุทยานประวัติศาสตร์ปราสาทหินพนมรุ้งได้ที่ โรงแรมนางรอง Nangrong Hotel “Special Promotion Buriram hotels” ตั้งอยู่ที่ ต.นางรอง อ.นางรอง จ.บุรีรัมย์ 31110 Tel : 044-631014 ; Mobile : 081-9553477 ; Fax : 044-631465 Website :
http://www.nangronghotel.com/คำค้นหาที่เกี่ยวข้อง :
ปราสาทหินพนมรุ้ง อ.เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์Tags : ปราสาทหินเขาพนมรุ้ง,ปราสาทหินพนมรุ้ง มรดกโลก,ปราสาทพนมรุ้ง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์